รายวิชาที่มีอยู่

        ศึกษา วิเคราะห์ และแปลความหมายของปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลม การเคลื่อนที่แบบสั่น แรงจากสนามโน้มถ่วง แรงจากสนามไฟฟ้า แรงจากสนามแม่เหล็ก แรงในนิวเคลียส พลังงานในชีวิตประจำวัน พลังงานนิวเคลียร์ เทคโนโลยีด้านพลังงาน คลื่นกล และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

      

                                                                                   คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน


ว 22101  รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                                                                                                             กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                               เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต


ศึกษา สำรวจ สืบค้นข้อมูล ทดลอง วิเคราะห์และอธิบายองค์ประกอบของสาร โดยวิธีการแยกสารผสม โดยการระเหยแห้งการตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวทำละลาย เป็นต้น อธิบายชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทำละลาย อุณหภูมิและความดันที่มีต่อสภาพละลายได้ของสาร อีกทั้งสามารถระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย ในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร ตระหนักถึงความสำคัญของการนำความรู้เรื่อง ความเข้มข้นของสารไปใช้สารละลายในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องและปลอดภัย

อธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย  ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ ภายในร่างกายของมนุษย์ และวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ การตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรที่มีความสำคัญกับผู้เรียน

อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยแรงลัพธ์ บอกตำแหน่ง ระยะทาง การกระจัดของวัตถุ สามารถคำนวณอัตราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยใช้สมการและแผนภาพ อธิบายแรงในชีวิตประจำวัน แรงลัพธ์ แรงและความดันของเหลว แรงพยุงของของเหลว แรงเสียดทาน แรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานจลน์ ความหมายของโมเมนต์ ชนิดของโมเมนต์ ภาวะสมดุลและโมเมนต์ หลักการโมเมนต์ โมเมนต์ในชีวิตประจำวัน ประโยชน์ของโมเมนต์ และแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า แรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อวัตถุ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม 


ตัวชี้วัด

ว 1.2    ม.2/1  ม.2/2   ม.2/3    ม.2/4    ม.2/5   ม.2/6    ม.2/7    ม.2/8   ม.2/9   ม.2/10  

ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13  ม.2/14  ม.2/15  ม.2/16  ม.2/17  ม.2/18

ว 2.1    ม.2/4    ม.2/5   ม.2/6

ว 2.2    ม.2/1  ม.2/2   ม.2/3    ม.2/4    ม.2/5   ม.2/6    ม.2/7    ม.2/8   ม.2/9   ม.2/10  

           ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13  ม.2/14  ม.2/15

รวม  35 ตัวชี้วัด



ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์

รายวิชาเพิ่มเติม                                                                          กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น                                                        เวลา  40  ชั่วโมง     จำนวน  1  หน่วยกิต

   ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ สร้างของเล่นอย่างง่ายตามแบบที่กำหนดให้  ดัดแปลงหรือ ประดิษฐ์ของเล่นที่ใช้เครื่องกลอย่างง่ายหรือหลักการทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย  และอธิบายการทำงานของของเล่น ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ สามารถใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การแก้ปัญหา  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  สามารถตัดสินใจ  นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้

1. ตั้งคำถามเกี่ยวกับหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่สังเกตได้จากการเล่นของเล่น

2. สังเกตและอธิบายหลักการทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายที่ประกอบขึ้นในของเล่น

3. ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องของเครื่องกลอย่างง่าย วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายที่ประกอบขึ้นในของเล่นที่กำหนด

4. ออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นโดยใช้เครื่องกลอย่างง่าย และไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่าย

5. มีเจตคติที่ดีต่อหลักการทางวิทยาศาสตร์ในของเล่น

 


รวมทั้งหมด   5   ผลการเรียนรู้

ศึกษาหลักการของแม่เหล็ก แรงแม่เหล็ก โมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทำกับขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านเมื่ออยู่ในสนามแม่เหล็ก  กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ ไฟฟ้ากระแสสลับ ความร้อน แก๊สอุดมคติ ทฤษฏีจลน์ของแก๊ส ของแข็ง สภาพยืดหยุ่นของของแข็ง ความตึงผิว ความหนืดของของเหลว ความดันในของไหล แรงพยุง ของไหลในอุดมคติ สมการความต่อเนื่อง และสมการแบร์นูลี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปรายและสรุปเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด มีความสามารถในการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ การตัดสินใจ การนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑  บนพื้นฐานของความเป็นพลโลก มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม


คำอธิบายรายวิชา 

รหัสวิชา ว๓๑๑o๓      วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (ชีววิทยาพื้นฐาน)    กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ฯ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑      เวลา ๖o ชั่วโมง             จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต


ศึกษาเกี่ยวกับการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์  ได้แก่ การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารในร่างกาย การรักษาดุลยภาพของกรด เบสของเลือด การรักษาดุลภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกัน ที่เป็นกลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ กลไกการทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบจำเพาะ ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน สารอินทรีย์ในพืชที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรงและที่ไม่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน การตอสนองต่อสิ่งเร้าของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล ยีนกับการควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เทคโนโลยีดีเอ็นเอ วิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศเกี่ยวกับไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป 

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม 

ตัวชี้วัด 

๑. อธิบายโครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่สัมพันธ์กับการลำเลียงสาร และเปรียบเทียบ

การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์แบบต่าง ๆ

๒. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของน้ำและสารในเลือดโดยการทำงานของไต

๓. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทำงานของไตและปอด

๔. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด ผิวหนัง และกล้ามเนื้อโครงร่าง

๕. อธิบาย และเขียนแผนผังเกี่ยวกับการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะต่อสิ่งแปลกปลอมของร่างกาย

๖. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างโรคหรืออาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

๗. อธิบายภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ HIV

๘. ทดสอบ และบอกชนิดของสารอาหารที่พืชสังเคราะห์ได้

๙. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืชบางชนิดสร้างขึ้น

๑๐. ออกแบบการทดลอง ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการ

เจริญเติบโตของพืช

๑๑. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้น

และยกตัวอย่างการนำมาประยุกต์ใช้ทางด้านการเกษตรของพืช

๑๒. สังเกต และอธิบายการตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้าในรูปแบบต่าง ๆ ที่มีผลต่อการดำรงชีวิต

๑๓. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์โปรตีน และลักษณะทางพันธุกรรม

๑๔. อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศและมัลติเปิลแอลลีล

๑๕. อธิบายผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงลำดับนิวคลีโอไทด์ในดีเอ็นเอต่อการแสดงลักษณะของสิ่งมีชีวิต

๑๖. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนำมิวเทชันไปใช้ประโยชน์

๑๗. สืบค้นข้อมูล และอภิปรายผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

๑๘. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจากวิวัฒนาการ

๑๙. สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ของสภาพทางภูมิศาสตร์บนโลกกับความหลากหลายของไบโอม และยกตัวอย่างไบโอมชนิดต่าง ๆ

๒๐. สืบค้นข้อมูล อภิปรายสาเหตุ และยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ

๒๑. สืบค้นข้อมูล อธิบายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับ

การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพและทางชีวภาพที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

๒๒. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งนำเสนอแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม

รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชี้วัด


รหัสตัวชี้วัด         ว ๑.๒  ม.๔/๑,  ม.๔/๒,  ม.๔/๓,  ม.๔/๔,  ม.๔/๕,  ม.๔/๖,  ม.๔/๗,  ม.๔/๘,  

                              ม.๔/๙,  ม.๔/๑๐,  ม.๔/๑๑,  ม.๔/๑๒

  ว ๑.๓  ม.๔/๑,  ม.๔/๒,  ม.๔/๓,  ม.๔/๔,  ม.๔/๕,  ม.๔/๖

  ว ๑.๑  ม.๔/๑,  ม.๔/๒,  ม.๔/๓,  ม.๔/๔,

รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ   รหัสวิชา ว31103  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (4/1 เเละ 4/9) สอนโดย นางสาวลีลา  สมบุญเรือง

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

 

ว 23102  รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี         กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1                                         เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

 

ศึกษา วิเคราะห์ สืบค้นข้อมูล และอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ในรุ่นลูก ความสําคัญของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส โรคทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม

ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายการเกิดคลื่นและส่วนประกอบของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์และอันตรายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปรากฏการณ์เกี่ยวกับแสง การสะท้อนของแสงและการหักเหของแสง การทํางานของทัศนอุปกรณ์ความสว่างและการมองเห็น

           สืบค้นข้อมูลและอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดจากการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง การเกิดฤดู การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้น ข้างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้ำขึ้น น้ำลง เทคโนโลยีอวกาศ โครงการสํารวจอวกาศ

           โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม นําความรูไปใชในชีวิตของตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม

 

ตัวชี้วัดรวม 24 ตัวชี้วัด

ว 1.3   ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8

ว 2.3   ม.3/10 ม.3/11 ม.3/12 ม.3/13 ม.3/14 ม.3/15 ม.3/16 ม.3/17 ม.3/18

          ม.3/19 ม.3./20 ม.3/21

ว 3.1   ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4


คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชา เคมีเพิ่มเติม 5                          รหัสวิชา ว33226                  จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6                  ภาคเรียนที่ 1                       จำนวน 1.5 หน่วยกิต

 


          สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสามที่พบในชีวิตประจำวัน  เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อและสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบอินทรีย์      วิเคราะห์โครงสร้างและระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชัน  เขียนสูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1 หมู่ ตามระบบ IUPAC  เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ  วิเคราะห์และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้างต่างกัน       ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขียนผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยากับโบรมีน หรือปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตเขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์ ปฏิกิริยาการไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน  ทดสอบปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน  สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและอุตสาหกรรม ระบุประเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรือพอลิเมอร์  วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์  ทดสอบและระบุประเภทของพลาสติกและผลิตภัณฑ์ยาง รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์  อธิบายผลของการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง และการสังเคราะห์พอลิเมอร์ที่มีต่อสมบัติของพอลิเมอร์        

          สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และการกำจัดผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์และแนวทางแก้ไข  กำหนดปัญหาและนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรม  แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจ  นำเสนอผลงานหรือชิ้นงานที่ได้จากการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  แสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงานนิทรรศการ

          โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม 

ผลการเรียนรู้

          1.   สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสามได้
          2.   เขียนสูตรโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อและสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบ                อินทรีย์ได้

          3.   วิเคราะห์โครงสร้างและระบุประเภทของสารประกอบอินทรีย์จากหมู่ฟังก์ชันได้

          4.   เขียนสูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ที่มีหมู่ฟังก์ชันไม่เกิน 1 หมู่       
                ตามระบบ
IUPAC ได้

          5.   เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ 

          6.   วิเคราะห์และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชัน
                ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้างต่างกันได้

          7.   ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขียนผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาการเผาไหม้
                ปฏิกิริยากับโบรมีน หรือปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตได้

          8.   เขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์
                ปฏิกิริยาการไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันได้

          9.   ทดสอบปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส และปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน 

          10. สืบค้นข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
                และอุตสาหกรรมได้

          11. ระบุประเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรือพอลิเมอร์ได้

          12. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำไปใช้
               ประโยชน์ได้

          13. ทดสอบและระบุประเภทของพลาสติกและผลิตภัณฑ์ยาง รวมทั้งการนำไปใช้ประโยชน์ได้ 

          14. อธิบายผลของการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง และการสังเคราะห์พอลิเมอร์ที่มีต่อสมบัติของพอลิเมอร
                ได้

          15. สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และแนวทางการกำจัดผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
                ได้

          16. ระบุปัญหาและนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน
                ชีวิตประจำวันการประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรมได้

          17. แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่น รวมทั้งทักษะกระบวนการทาง
               วิทยาศาสตร์หรือกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและ
               ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจ 

          18. นำเสนอผลงานหรือชิ้นงานที่ได้จากการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจโดยใช้
                เทคโนโลยีสารสนเทศได้

          19. แสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเข้าร่วมประชุมวิชาการ หรือการแสดงผลงาน
                สิ่งประดิษฐ์ในงานนิทรรศการ

รวม 19 ผลการเรียนรู้


 

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

รายวิชา    ว32244     ชีววิทยา   3      สาระเพิ่มเติม

ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5    ภาคเรียนที่ 1     เวลา 60 ชั่วโมง     จำนวน 1.5 หน่วยการเรียน

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก กระบวนการคายน้ำ การลำเลียงน้ำ  การลำเลียงแร่ธาตุ การลำเลียงสารอาหาร  และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ การค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ปฏิกิริยาเคมีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การตรึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช ซี 3 ซี 4 และพืช ซีเอเอ็ม  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง   กระบวนการการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชระยะเอ็มบริโอ และระยะหลังเอ็มบริโอ   สารที่พืชสร้างมีผลต่อสรีระและการตอบสนองของพืช  การนำความรู้เรื่องการดำรงชีวิตของพืชดอกไปประยุกต์ใช้      โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต วิเคราะห เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร รวมทั้งทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการคิดและการแกปญหา ดานการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในชีวิตของตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม

 

ผลการเรียนรู้

1. อธิบายเกี่ยวกับชนิดและลักษณะของเนื้อเยื่อพืช และเขียนแผนผังเพื่อสรุปชนิดของเนื้อเยื่อพืช

2.สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืช ใบเลี้ยงคู่จากการตัดตามขวาง

3.สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่จากการตัดตามขวาง

4.สังเกต และอธิบายโครงสร้างภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง

5.สืบค้นข้อมูล สังเกต และอธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำของพืช

6.สืบค้นข้อมูล และอธิบายกลไกการลำเลียงน้ำและธาตุอาหารของพืช

7.สืบค้นข้อมูล อธิบายความสำคัญของธาตุอาหาร และยกตัวอย่างธาตุอาหารที่สำคัญที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช

8.อธิบายกลไกการลำเลียงอาหารในพืช

9.สืบค้นข้อมูล และสรุปการศึกษาที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

10.อธิบายขั้นตอนที่เกิดขึ้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3

11.เปรียบเทียบกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C3 พืช C4 และ พืช CAM

12.สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปปัจจัยความเข้มของแสง ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ และอุณหภูมิ ที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

13.อธิบายวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก

14.อธิบาย และเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียของพืชดอก และอธิบายการปฏิสนธิของพืชดอก

15.อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก โครงสร้างของเมล็ดและผล และยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากโครงสร้างต่าง ๆ ของเมล็ดและผล

16.ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และบอกแนวทางในการแก้สภาพพักตัวของเมล็ด

17.สืบค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและหน้าที่ของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบไซซิก และอภิปรายเกี่ยวกับการนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร

18.สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช

 


ศึกษาการรับรู้และตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ของสัตว์และมนุษย์ เซลล์ประสาทและการทำงานของเซลล์ประสาท สมองและไขสันหลังที่เป็นศูนย์ควบคุมระบบประสาท การทำงานของระบบประสาทโซมาติกและระบบประสาทอัตโนวัติ โครงสร้างและการทำงานของอวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับนัยน์ตากับการมองเห็น หูกับการได้ยิน จมูกกับการดมกลิ่นลิ้นกับการรับรส ผิวหนังกับการรับความรู้สึก โครงสร้างและอวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ของสัตว์และมนุษย์ ระบบต่อมไร้ท่อ โครงสร้างและการทำงานของต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สำคัญ  การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนและฟีโรโมนในสัตว์ โครงสร้างและการทำงานของระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์และมนุษย์ พฤติกรรมของสัตว์ กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดและพฤติกรรมเรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับการพัฒนาของระบบประสาท การสื่อสารระหว่างสัตว์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้น ข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยม ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์คิดแก้ปัญหา มีทักษะในศตวรรษที่ 21 และได้รับการพัฒนาสู่มาตรฐานสากล ได้แก่ การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา


คำอธิบายรายวิชา

          ศึกษา วิเคราะห์ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมบัติของสารบริสุทธิ์ การจำแนกและองค์ประกอบของสาร

บริสุทธิ์   เซลล์  การลำเลียงสารเข้าออกของเซลล์ การสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของพืชดอก การสังเคราะห์ด้วยแสง  การลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารของพืช โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนรู้ในทศวรรษที่ ๒๑ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย

เพื่อให้เกิดความรู้  ความคิด  ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ  การแก้ปัญหานำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน  มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

 

     ศึกษาเกี่ยวกับสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมีในระบบ GHS และ NFPA ข้อควรปฏิบัติในการทำปฏิบัติการเคมี ทั้งก่อนทำปฏิบัติการ ขณะทำปฏิบัติการ และหลังทำปฏิบัติการ การกำจัดสารเคมี และการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอุบัติเหตุจากสารเคมี ศึกษาการพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากการวัดจากความเที่ยงและความแม่น อุปกรณ์วัดปริมาตรและวัดมวล เลขนัยสำคัญ หน่วยวัดในระบบ   เอสไอ แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย รวมทั้งวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์

     ศึกษาแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และแบบกลุ่มหมอก เขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป เขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ศึกษาความหมายของระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ออร์บิทัล เวเลนซ์อิเล็กตรอน วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุและตารางธาตุในปัจจุบัน แนวโน้มสมบัติบางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู่และตามคาบ เกี่ยวกับขนาดอะตอม ขนาดไอออน พลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน อิเล็กโทรเนกาติวิตี ศึกษาสมบัติของธาตุแทรนซิชัน ธาตุกัมมันตรังสี การเกิดกัมมันตภาพรังสี การสลายตัวและอันตรายจากไอโซโทปกัมมันตรังสี คำนวณครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ศึกษาปฏิกิริยานิวเคลียร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารกัมมันตรังสี การนำธาตุไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

     ศึกษาพันธะเคมี สัญลักษณ์แบบจุดและกฎออกเตต การเกิดพันธะไอออนิก สูตรเคมีและชื่อของสารประกอบไอออนิก เลขออกซิเดชัน พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติของสารประกอบไอออนิก สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ การเกิดพันธะโคเวเลนต์ โครงสร้างลิวอิส สูตรโมเลกุลและชื่อของสารประกอบโคเวเลนต์ ความยาวและพลังงานพันธะ เรโซแนนซ์ การคำนวณพลังงานพันธะและพลังงานของปฏิกิริยา รูปร่างและสภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสาร โคเวเลนต์ สารโคเวเลนต์โครงร่างตาข่าย การเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ และการนำสารประกอบชนิดต่าง ๆ ไปใช้ประโยชน์ของสารประกอบ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม อยู่อย่างพอพียง บูรณาการการกับการสร้างองค์ความรู้ตามโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ว23203 พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์                กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ภาคเรียนที่ 1             เวลา  4ชั่วโมง                     จำนวน  1.0  หน่วยกิต

 

ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง ตรวจสอบ เกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ พลังงานชีวมวล และพลังงานนิวเคลียร์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักการทางวิทยาศาสตร์ของพลังงานดังกล่าว และการนำมาใช้เป็นพลังงานทดแทน และตระหนักในบทบาทและผลกระทบของพลังงานเหล่านั้นที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต วิเคราะห เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร รวมทั้งทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการคิดและการแกปญหา ดานการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในชีวิตของตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม

     ผลการเรียนรู้

1. สังเกต อธิบายหลักการทางวิทยาศาสตร์ เขียนบรรยายและยกตัวอย่างพลังงานน้ำในประเทศไทย พร้อมทั้งเขียนสรุปข้อดี ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนาพลังงานน้ำไปใช้ประโยชน์

2. สังเกต อธิบายหลักการทางวิทยาศาสตร์ เขียนบรรยายและยกตัวอย่างพลังงานลมในประเทศไทย พร้อมทั้งเขียนสรุปข้อดี ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนาพลังงานลมไปใช้ประโยชน์

3. สังเกต อธิบายหลักการทางวิทยาศาสตร์ เขียนบรรยายและยกตัวอย่างพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย พร้อมทั้งเขียนสรุปข้อดี ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ไปใช้ประโยชน์

4. สังเกต อธิบายหลักการทางวิทยาศาสตร์ เขียนบรรยายและยกตัวอย่างพลังงานชีวมวลในประเทศไทย พร้อมทั้งเขียนสรุปข้อดี ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนาพลังงานชีวมวลไปใช้ประโยชน์

5. สังเกต อธิบายหลักการทางวิทยาศาสตร์ เขียนบรรยายและยกตัวอย่างพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย พร้อมทั้งเขียนสรุปข้อดี ข้อจำกัดและแนวทางการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ประโยชน์

 

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้


ศึกษาการค้นหาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย  การสั่น  ลูกตุ้มอย่างง่าย ความถี่ธรรมชาติ  การสั่นพ้อง คลื่น  ชนิดของคลื่น  ส่วนประกอบของคลื่น  ความถี่ อัตราเร็วคลื่น  หลักการของ  ฮอยเกนส์  หลักการซ้อนทับ  พฤติกรรมของคลื่น  การสะท้อนของคลื่น  กฎการสะท้อน การหักเหของคลื่น การแทรกสอดของคลื่น การเลี้ยวเบนของคลื่น  แสงเชิงคลื่น  การแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่  การเลี้ยวเบนของแสงผ่านสลิตเดี่ยว การเลี้ยวเบนของแสงผ่านเกรตติง  เกรตติง  การสะท้อนของแสง  การหักเหของแสง  การมองเห็น  การเกิดภาพ  เลนส์บาง  ภาพจากเลนส์ กระจกเงาทรงกลม  แสงสี  การมองเห็นสี  การผสมแสงสี  แผ่นกรองแสง  การผสมสารสี ปรากฏการณ์ธรรมชาติเกี่ยวกับแสง การใช้ประโยชน์เกี่ยวกับแสง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ  มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ป้ญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิทยาศาสตรื จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

      ผลการเรียนรู้

1.  ทดลอง และอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

2.  อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพ้อง

3.  อธิบายปรากฏการณ์คลื่น ชนิดของคลื่นส่วนประกอบของคลื่น การแผ่ของหน้าคลื่นด้วยหลักการของฮอยเกนส์ และการรวมกันของคลื่นตามหลักการซ้อนทับ พร้อมทั้งคำนวณอัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น

4.   สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเหการแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำรวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

5.   ทดลอง และอธิบายการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่และเกรตติง การเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตเดี่ยวรวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

6.  ทดลอง และอธิบายการสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท้อน เขียนรังสีของแสงและคำนวณตำแหน่งและขนาดภาพของวัตถุ เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมรวมทั้งอธิบายการนำความรู้เรื่องการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบ และกระจกเงาทรงกลมไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

7.  ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดรรชนีหักเห มุมตกกระทบ และมุมหักเหรวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

8.  ทดลอง และเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หาตำแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ แลความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกัส รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และอธิบายการนำความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์บางไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

9.  อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับแสงเช่น รุ้ง การทรงกลด มิราจ และการเห็นท้องฟ้าเป็นสีต่าง ๆ ในช่วงเวลาต่างกัน

10.  สังเกต และอธิบายการมองเห็นแสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสีรวมทั้งอธิบายสาเหตุของการบอดสี

 

รวมทั้งหมด 10 ผลการเรียนรู้



                              

                           


👉รายวิชาวิทยาศาสตร์ 3 รหัส ว22101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
👉สอนโดย นางสาวรัตณี  แสงมาศ
😍 สำหรับ😍
👉2/1 , 2/3 ,2/5 ,2/7 ,2/9 ,2/11 
     😍   😅   😘  🤣  😝   😏

รายวิชาชีววิทยา 5 รหัสวิชา ว33245 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6  สอนโดย นางสาวลีลา  สมบุญเรือง


  • เทคโนโลยีกับการดำรงชีวิตของมนุษย์
  •  การแก้ปัญหากับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
  • วัสดุและเครื่องมือสำหรับการแก้ปัญหา
  • การสร้างชิ้นงานด้วยกลไก  ไฟฟ้า  และอิเล็กทรอนิกส์ในชีวิตประจำวัน

การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

วิชา วิทยาการคำนวณ 1 รหัสวิชา ว21104  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สอนโดย นางปานรวี  มั่นยืน

รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ว 21103  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1,1/2,1/11

สอนโดย นางปานรวี  มั่นยืน

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6    เวลา  40 ชั่วโมง  จำนวน  1 หน่วยกิต


          ศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย และหลักการของปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีในอนาคต กรณีศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างผลการะทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

          โดยใช้กระบวนการในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม ด้วยการทำโครงงาน

          มีจริยธรรมในการสร้างชิ้นงานและเผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ  ที่คำนึงถึงลิขสิทธิ์ ทรพัย์สินทางปัญญา และกฎหมาย 


ตัวชี้วัด

          มฐ. ว.4.2 ม.6/1  ใช้เทคโนฌลยีสารสนเทศในการนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม


รวมทั้งหมด    1  ตัวชี้วัด


คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ว22106         กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1                                    เวลา  40  ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

          ศึกษาการออกแบบอัลกอริทีมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่พบในชีวิตจริง การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหาการเขียนโปรแกรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch, python, java และcอภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้นตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยมีความรับผิดชอบสร้างและแสดงสิทธิในการเผยแพร่ผลงาน

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน(Project-based Learning)เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิดเผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา จนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจการนำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์วิเคราะห์ประเมินนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อช่วยในการแก้ปัญหาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างรู้เท่าทันและรับผิดชอบต่อสังคมตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการมีความสามารถในการแก้ปัญหาและมีทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด

ว. 4.2  เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

ว.4.2 ม.2/1   ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่พบในชีวิตจริง

ว.4.2 ม.2/2   ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา

ว.4.2 ม.2/3   อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร    

       เพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น

ว.4.2 ม.2/4   ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ในการเผยแพร่

       ผลงาน

รวมทั้งหมด 4 ตัวชี้วัด


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รหัสวิชา ว21103 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)       กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1                            เวลา 40 ชั่วโมง                    จำนวน 1.0 หน่วยกิต


ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ความหมายเทคโนโลยี ระบบทางเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เพื่อหาข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา จากนั้นวิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูล เพื่อนำไปใช้ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา โดยต้องตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นในการแก้ปัญหา จากนั้นทดสอบและประเมินผล เพื่อหาข้อบกพร่อง และดำเนินการปรับปรุงให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ เมื่อได้วิธีการแก้ปัญหาที่สมบูรณ์แล้ว สามารถนำเสนอผลการแก้ปัญหานั้น โดยนำความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ความหมายของเทคโนโลยี ประโยชน์ของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงและการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ระบบและการวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี เรียนรู้วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน เลือกข้อมูลที่จําเป็นในการสร้างชิ้นงานหรือพัฒนา โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม และนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นผู้ที่สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัยและตั้งใจในการเรียนรู้ มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์

 

ตัวชี้วัด

. 4.1 ออกแบบและเทคโนโลยี

ม.1/1 อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัย ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

ม.1/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวัน รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา

ม.1/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา

ม.1/4 ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง ที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแก้ปัญหา

ม.1/5 ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและ ปลอดภัย

รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด


วิชาวิทยาการคำนวณ 2 รหัสว22106 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   ห้อง 2/1,2/2,2/4,2/6,2/8,2/10,2/11
ครูผู้สอน นายธนดล คำเสมอ

รายวิชา โปรแกรมสร้างสรรค์งาน
รหัสวิชา ว22211  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

สอนโดย นายพนาวุฒิ สารพันธ์

วิชาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ว21210

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 STEM

ครูผู้สอน นางสาวนุชรี ผิวละออง

วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี3 

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1-3/8 และ 3/11

ครูผู้สอน : นางสาวนุชรี ผิวละออง

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
สาระเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6    เวลา  40 ชั่วโมง  จำนวน  1 หน่วยกิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

          ศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย และหลักการของปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีในอนาคต กรณีศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน อาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างผลการะทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

          โดยใช้กระบวนการในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม ด้วยการทำโครงงาน

          มีจริยธรรมในการสร้างชิ้นงานและเผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ  ที่คำนึงถึงลิขสิทธิ์ ทรพัย์สินทางปัญญา และกฎหมาย 


ตัวชี้วัด

          มฐ. ว.4.2 ม.6/1  ใช้เทคโนฌลยีสารสนเทศในการนำเสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม


รวมทั้งหมด    1  ตัวชี้วัด



รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม5 รหัสวิชา ค23201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน5  รหัสวิชา ค23101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ฝึกการให้เหตุผลในการแก้ปัญหา ฝึกการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ค้นคว้า วิพากษ์ สังเคราะห์ เขียนสรุปรายงาน และสร้างนวัตกรรม ในสาระที่เกี่ยวกับ ลำดับและอนุกรม ประกอบด้วย ลำดับ อนุกรม และการประยุกต์ของลำดับและอนุกรม

โดยจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือสร้างสถานการณ์ ให้ผู้เรียนรู้ได้ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ วิพากษ์และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด สร้างทักษะชีวิต ทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรับผิดชอบ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง พร้อมทั้งตะหนักและเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

23101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน 5                       กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1          เวลา  80  ชั่วโมง        จำนวน  หน่วยกิต

           

            ศึกษา  ฝึกทักษะ/กระบวนการ ในสาระ

            อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา 

            การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง

            สมการกำลังสองตัวแปรเดียว     สมการกำลังสองตัวแปรเดียว  การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว  การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา

            ความคล้าย  รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน  การนำความรู้เกี่ยวกับความคล้ายไปใช้ในการแก้ปัญหา   

            กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง  กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง  การนำความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ในการแก้ปัญหา

            สถิติ 3  ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลแผนภาพกล่อง การแปลความหมายของผลลัพธ์ การนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริง           

           
            
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง  ทดลอง  สรุป  รายงาน  เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ  การแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการด้านความรู้  ความคิดทักษะกระบวนการที่ได้นำไปใช้เรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้องถิ่น ประเทศชาติ สู่สังคมอาเซียนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์  สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ  มีความรอบคอบ  มีความรับผิดชอบ  มีวิจารณญาณ  และมีความเชื่อมั่นในตนเอง  วัดผลและประเมินผล  ใช้วิธีที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหา และทักษะที่ต้องการวัดผลประเมินผล


รหัสตัวชี้วัด

1.3.1   เข้าใจและใช้สมบัติของการไม่เท่ากันเพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหา โดยใช้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

1.2.1   เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

1.3.2   ประยุกต์ใช้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์     

2.2.1   เข้าใจและใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

1.2.2   เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันกำลังสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

3.1.1   เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพกล่องและแปลความหมายผลลัพธ์รวมทั้งนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

รวมทั้งหมด  ตัวชี้วัด

 


คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.2 ครูกิรณา 2 คาบ/สัปดาห์

รหัสวิชา ค22103 ศึกษา ฝึกทักษะ / กระบวนการในสาระต่อไปนี้

ชื่อวิชา คณิตศาสตร์ 3

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เวลา 80 ชั่วโมง จานวน 2.0 หน่วยกิต

รายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คําอธิบายรายวิชา

  ทฤษฎีบทพีทําโกรัสและบทกลับ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎี บทพีทาโกรัส และการนาไปใช้ ควํามรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจํานวนจริง จานวนตรรกยะ จานวนอตรรกยะ รากที่ สอง และรากที่สามของจานวนตรรกยะ และการนาความรู้เกี่ยวกับจานวนจริงไปใช้ในการแก้ปัญหา ปริซึม และทรงกระบอก พื้นที่และปริมาตร พื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก และการแก้โจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร กํารแปลงทํางเรขําคณิต การเลื่อนขนาน (Translation) การสะท้อน (Reflection) การหมุน (Rotation) และการนาความรู้เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา สมบัติของเลขยกกําลัง ทบทวนเลขยกกาลัง การดาเนินการของเลขยกกาลัง บทนิยามและสมบัติอื่น ๆ ของ เลขยกกาลัง และการนาไปใช้ พหุนําม เอกนาม การบวกและลบเอกนาม พหุนาม การบวก ลบ คูณและหาร พหุนาม

โดยจัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า และสร้าง องค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน สื่อสาร และนาเสนอ (Communication and Presentation) อย่างเป็นลาดับขั้นตอนเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ/กระบวนการที่ได้ ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหา ทักษะ ที่ ต้องการวัดและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

รหัสมาตรฐาน / ตัวชี้วัด

ค 1.1 ม.2/1, ม.2/2

ค 1.2 ม.2/1

ค 2.1 ม.2/1, ม.2/2 ค 2.2 ม.2/3, ม.2/5

รวมทั้งหมด 7 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

23101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน 5                        กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1          เวลา  80  ชั่วโมง         จำนวน  หน่วยกิต

          

                             ศึกษา  ฝึกทักษะ/กระบวนการ ในสาระ

           อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว  การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา 

           การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง

           สมการกำลังสองตัวแปรเดียว   สมการกำลังสองตัวแปรเดียว  การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว  การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา

           ความคล้าย  รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน  การนำความรู้เกี่ยวกับความคล้ายไปใช้ในการแก้ปัญหา   

           กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง  กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง  การนำความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ในการแก้ปัญหา

          สถิติ 3  ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลแผนภาพกล่อง การแปลความหมายของผลลัพธ์ การนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริง    

           
                            
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง  ทดลอง  สรุป  รายงาน  เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ  การแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการด้านความรู้  ความคิดทักษะกระบวนการที่ได้นำไปใช้เรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้องถิ่น ประเทศชาติ สู่สังคมอาเซียนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์  สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ  มีความรอบคอบ  มีความรับผิดชอบ  มีวิจารณญาณ  และมีความเชื่อมั่นในตนเอง  วัดผลและประเมินผล  ใช้วิธีที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหา และทักษะที่ต้องการวัดผลประเมินผล

 

 

 

รหัสตัวชี้วัด

     1.3.1       เข้าใจและใช้สมบัติของการไม่เท่ากันเพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหา โดยใช้อสมการ

            เชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2.1   เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสองในการแก้ปัญหา 

                    คณิตศาสตร์  
1.3.2   ประยุกต์ใช้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์        

2.2.1   เข้าใจและใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

                    และปัญหาในชีวิตจริง

            1.2.2   เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันกำลังสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

          ค 3.1.1           เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพ

                   กล่องและแปลความหมายผลลัพธ์รวมทั้งนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้

เทคโนโลยีที่เหมาะสม

 

รวมทั้งหมด  ตัวชี้วัด

 


รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.4 เทอมที่ 1

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
23201  คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5                     กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1             เวลา  40  ชั่วโมง    จำนวน  1.0  หน่วยกิต
 
ศึกษา  ฝึกทักษะ/กระบวนการ ในสาระ กรณฑ์ที่สอง  การบวก  การลบ  การคูณ  และการหารจำนวนจริงในรูป  เมื่อ a  ๐  โดยใช้สมบัติ = x  เมื่อ a   ,  b     และ   =   เมื่อ a    , b  > ๐  การแยกตัวประกอบของพหุนาม  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์  การแยกตัวประกอบของพหุนามดรีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม  โดยอาศัยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ เศษส่วนของพหุนาม  การบวก  การลบ  การคูณ และการหารพหุนาม  การบวก  การลบ  การคูณ และการหารเศษส่วนของพหุนาม  การแก้สมการเศษส่วนของพหุนาม  การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนของพหุนาม  สมการกำลังสอง  การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้สูตร  การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสอง  การให้เหตุผลทางเรขาคณิต  โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง  ทดลอง  สรุป  รายงาน  เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ  การแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์  และนำประสบการด้านความรู้    ความคิดทักษะกระบวนการที่ได้นำไปใช้เรียนรู้สิ่งต่างๆ  และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์  สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้องถิ่น ประเทศชาติ สู่สังคมอาเซียนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์  สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ  มีความรอบคอบ  มีความรับผิดชอบ  มีวิจารณญาณ  และมีความเชื่อมั่นในตนเอง  การวัดผลและประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหา และทักษะที่ต้องการวัดผลประเมินผล  
 
ผลการเรียนรู้      
1. บวก ลบ คูณ และหารจำนวนจริงซึ่งเกี่ยวกับกรณฑ์ที่สองที่กำหนดให้และนำไปใช้แก้ปัญหาได้
2. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ได้
3 แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็นจำนวนเต็มและตัวประกอบที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็นจำนวนเต็มโดยอาศัยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์หรือใช้ทฤษฏีเศษเหลือได้
4. บวก ลบ คูณและหาร เศษส่วนของพหุนามที่กำหนดให้ได้
    5. แก้สมการเศษส่วนของพหุนามได้
    6. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนของพหุนามได้
7. แก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้
8. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้
9. สร้างและให้เหตุผลเกี่ยวกับการสร้างที่กำหนดให้ได้
10. ใช้สมบัติเกี่ยวกับวงกลมในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาที่กำหนดให้ได้
 
รวมทั้งหมด  10  ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

21101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน 1                       กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1          เวลา  8ชั่วโมง        จำนวน  2.0  หน่วยกิต

            ศึกษา  ฝึกทักษะ/กระบวนการ ในสาระ   

            จำนวนตรรกยะ  จำนวนเต็ม  สมบัติของจำนวนเต็ม ทศนิยมและ เศษส่วนจำนวนตรรกยะและสมบัติของจำนวนตรรกยะ  เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก  การนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนเต็ม  จำนวนตรรกยะและเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหา 

            การสร้างทางเรขาคณิต การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต  การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ  โดยใช้การสร้างรูปเรขาคณิต การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้าง  พื้นฐานทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง

          มิติสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต  หน้าตัดของรูปเรขาคณิต  สามมิติ  ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า   ด้านข้าง  ด้านบน  ของรูป  เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์

            โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง  ทดลอง  สรุป  รายงาน  เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ  การแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์  และนำประสบการด้านความรู้  ความคิดทักษะกระบวนการที่ได้นำไปใช้เรียนรู้สิ่งต่างๆ  และใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาคุณภาพชีวิต  ท้องถิ่น  ประเทศชาติ สู่สังคมอาเซียนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์  สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ  มีความรอบคอบ  มีความรับผิดชอบ  มีวิจารณญาณ  และมีความเชื่อมั่นในตนเอง  วัดผลและประเมินผล  ใช้วิธีที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหา และทักษะที่ต้องการวัดผลประเมินผล

 

รหัสตัวชี้วัด

            1.1.1   เข้าใจจำนวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจํานวนตรรกยะและใช้สมบัติของ

จํานวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์  และปัญหาในชีวิตจริง

            1.1.2   เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกในการ

แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

          2.1.1 ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่นวงเวียนและสันตรงรวมทั้งโปรแกรม  The geometer's sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่นๆเพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง

            ค 2.2.2   เข้าใจและใช้ความรู้ทางเรขาคณิตในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ

 

รวมทั้งหมด  4  ตัวชี้วัด


รายวิชานี้จัดทำขึ้นสำหรับนักเรียนชั้น ม.5

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ฝึกการให้เหตุผลในการแก้ปัญหา ฝึกการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ค้นคว้า วิพากษ์ สังเคราะห์ เขียนสรุปรายงาน และสร้างนวัตกรรม ในสาระที่เกี่ยวกับ ลำดับและอนุกรม ประกอบด้วย ลำดับ ลิมิตของลำดับอนันต์ อนุกรม สัญลักษณ์แสดงการบวก การประยุกต์ของลำดับและอนุกรม แคลคูลัสเบื้องต้น ประกอบด้วย ลิมิตของฟังก์ชัน ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชัน การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันโดยใช้สูตร อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ เส้นสัมผัสเส้นโค้ง อนุพันธ์อันดับสูง การประยุกต์ของอนุพันธ์ ปฏิยานุพันธ์และปริพันธ์ไม่จำกัดเขต ปริพันธ์จำกัดเขต พื้นที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง

โดยจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือสร้างสถานการณ์ ให้ผู้เรียนรู้ได้ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ วิพากษ์และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด สร้างทักษะชีวิต ทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรับผิดชอบ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง พร้อมทั้งตะหนักและเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์

 

ผลการเรียนรู้

1.   ระบุได้ว่าลำดับที่กำหนดให้เป็นลำดับลู่เข้าหรือลู่ออก

2.   หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกมเรขาคณิต

3.   หาผลบวกของอนุกรมอนันต์

4.   เข้าใจและนำความรู้เกี่ยวกับลำดับและอนุกรมไปใช้

5.   ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่กำหนดให้

6.   หาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตที่กำหนดให้และนำไปใช้แก้ปัญหา

7.   หาปริพันธ์ไม่จำกัดเขตและจำกัดเขตของฟังก์ชันพีชคณิตที่กำหนดให้ และนำไปใช้แก้ปัญหา

รวม 7 ผลการเรียนรู้


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน 3                            รหัสวิชา ค32101                   จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5                             ภาคเรียนที่ 1                        จำนวน 1.0 หน่วยกิต

 

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ฝึกการให้เหตุผลในการแก้ปัญหา ฝึกการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ค้นคว้า วิพากษ์ สังเคราะห์ เขียนสรุปรายงาน และสร้างนวัตกรรม ในสาระที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง ประกอบด้วย เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม รากที่ n ของจำนวนจริง และเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ ฟังก์ชัน ประกอบด้วย ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกำลังสอง ฟังก์ชันขั้นบันได และฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

โดยจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือสร้างสถานการณ์ ให้ผู้เรียนรู้ได้ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ วิพากษ์และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด สร้างทักษะชีวิต ทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรับผิดชอบ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง พร้อมทั้งตะหนักและเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์

 

รหัสตัวชี้วัด

          ค 3.2 ม.5/1     ค 3.2 ม.5/2

รวม 2 ตัวชี้วัด

รหัสวิชา ค22103 ศึกษา ฝึกทักษะ / กระบวนการในสาระต่อไปนี้

ชื่อวิชา คณิตศาสตร์ 3

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เวลา 80 ชั่วโมง จานวน 2.0 หน่วยกิต

รายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คําอธิบํายรํายวิชํา

  ทฤษฎีบทพีทําโกรัสและบทกลับ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎี บทพีทาโกรัส และการนาไปใช้ ควํามรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจํานวนจริง จานวนตรรกยะ จานวนอตรรกยะ รากที่ สอง และรากที่สามของจานวนตรรกยะ และการนาความรู้เกี่ยวกับจานวนจริงไปใช้ในการแก้ปัญหา ปริซึม และทรงกระบอก พื้นที่และปริมาตร พื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก และการแก้โจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตร กํารแปลงทํางเรขําคณิต การเลื่อนขนาน (Translation) การสะท้อน (Reflection) การหมุน (Rotation) และการนาความรู้เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา สมบัติของเลขยกกําลัง ทบทวนเลขยกกาลัง การดาเนินการของเลขยกกาลัง บทนิยามและสมบัติอื่น ๆ ของ เลขยกกาลัง และการนาไปใช้ พหุนําม เอกนาม การบวกและลบเอกนาม พหุนาม การบวก ลบ คูณและหาร พหุนาม

โดยจัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า และสร้าง องค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน สื่อสาร และนาเสนอ (Communication and Presentation) อย่างเป็นลาดับขั้นตอนเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ/กระบวนการที่ได้ ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการที่หลากหลายตามสภาพจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหา ทักษะ ที่ ต้องการวัดและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

รหัสมาตรฐาน / ตัวชี้วัด

ค 1.1 ม.2/1, ม.2/2

ค 1.2 ม.2/1

ค 2.1 ม.2/1, ม.2/2 ค 2.2 ม.2/3, ม.2/5

รวมทั้งหมด 7 ตัวชี้วัด

เนื่องจากสถานศึกษาสามารถปรับเกลี่ยจำนวนชั่วโมงเรียนของรายวิชาพื้นฐานได้เอง ดังนั้น สถานศึกษาแต่ละแห่งอาจ กำาหนดจำนวนชั่วโมงเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ไม่เท่ากัน สามารถปรับจำนวนชั่วโมงนี้ ให้สอดคล้องกับบริบทของตนเองได้ตามความเหมาะสม
หน่วยการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมงที่แนะนำ

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส   ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง   ปริซึมและทรงกระบอก   การแปลงทางเรขาคณิต สมบัติขอ   งเลขยกกำาลัง   พหุนาม


ชั้น ม. ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จ านวน ๓ ชั่วโมง / สัปดาห์ (จำนวนหน่วยกิต ๑.๕ หน่วยกิต)

คำอธิบายรายวิชา

ท ๒๓๑๐๑  ภาษาไทย                                                                                  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓  ภาคเรียนที่ ๑         เวลา  ๖๐  ชั่วโมง                                   จำนวน  ๑.๕  หน่วยกิต

           ฝึกอ่านออกเสียงร้อยแก้วเป็นบทความทั่วไป ร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ โคลงสี่สุภาพ  ระบุความแตกต่างของคำที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูล อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน พร้อมทั้งมีมารยาทในการอ่าน ฝึกเขียนตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนชีวประวัติโดยเล่าเหตุการณ์ แสดงข้อคิดเห็น และทัศนคติในเรื่องต่าง ๆ เขียนย่อความจากนิทาน ประวัติ ตำนาน พระราชดำรัส พระบรมราโชวาท บทโฆษณา และบทความวิชาการ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า และมีมารยาทในการเขียน ฝึกแสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟังและการดู ฝึกวิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดูเพื่อนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต พูดโน้มน้าวได้อย่างมีเหตุผล และน่าเชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟังการดูและการพูด ฝึกจำแนกและใช้คำที่มาจากภาษาต่างประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนที่ใช้ในภาษาไทย วิเคราะห์ระดับภาษา อธิบายความหมายคำศัพท์ทางวิชาการและวิชีพได้อย่างถูกต้อง ฝึกสรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับยากยิ่งขึ้นฝึกวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน และท่องจำบทร้อยกรองตามความสนใจ  สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 

ตัวชี้วัด

ท ๑.๑  ม.๓/๑   ม.๓/๒  ม.๓/๓   ม.๓/๔  ม.๓/๑๐

ท ๒.๑  ม.๓/๑  ม.๓/๒  ม.๓/๓  ม.๓/๔   ม.๓/๗  ม.๓/๑๐

ท ๓.๑  ม.๓/๑  ม.๓/๒  ม.๓/๕

ท ๔.๑  ม.๓/๑  ม.๓/๓  ม.๓/๕

ท ๕.๑  ม.๓/๑  ม.๓/๒  ม.๓/๔     

 รวม  ๒๐  ตัวชี้วัด


วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรียนต่าง ๆที่อ่าน ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อและโน้มน้าวหรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสือ บทความหรือคำประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้จากการอ่านเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า มีมารยาทในการเขียน

พูดสรุปใจความสำคัญของเรื่องที่ฟังและดู  วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ   วิเคราะห์ พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์  รวบรวมและอธิบายความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ  ประโยครวมและประโยคซ้อน สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน พร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ


คำอธิบายรายวิชา

 

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ                         ชื่อรายวิชา  ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3

จำนวน  0.5หน่วยการเรียน                                                     รหัสวิชา  อ22201

เวลา   20ชั่วโมง  ภาค                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2

 

          ศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสถานการณ์ต่างๆ ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือตอบรับและปฏิเสธ แสดงความรู้สึก ความคิดเห็นของตนเองในสถานการณ์ต่างๆใกล้ตัว

          โดยใช้กระบวนการ แลกเปลี่ยน ค้นคว้า รวบรวม กระบวนการจัดการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์

          เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษา ในการสื่อสารด้วยการใช้ภาษา ใช้ท่าทาง และกิริยา แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเรื่องต่างๆ   พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆได้เหมาะสม ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินเข้าใจและเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน

 

 

จำนวน 4 ผลการเรียน

 

ข้อที่ 1 แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสถานการณ์ต่างๆ ในเพื่อสื่อสารในชีวิตประจำวันได้

ข้อที่ 2 ใช้ภาษาแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆได้

ข้อที่ 3 ใช้ภาษาเพื่อแสดงความรู้สึก และความคิดเห็น ของตนเอง  เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบได้

ข้อที่ 4 ใช้ภาษาและกิริยาท่าทาง ได้เหมาะสม ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาได้

 


คำอธิบายรายวิชา

 

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ                                            ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษ 3

จำนวน 1.5 หน่วยการเรียน                                                                 รหัสวิชา อ22101

เวลา 60 ชั่วโมง/ ภาค                                                                    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

                ศึกษา ค้นคว้า คำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ และคำชี้แจงง่ายๆ ข้อความ นิทาน สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information) ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวกิจกรรม และสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวันภาษาที่ใช้ในการ แสดงความต้องการ  ขอความช่วยเหลือ  ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ และการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

          โดยใช้กระบวนการ คิดวิเคราะห์ อภิปราย อธิบาย ตีความ สรุปความ แสดงความคิดเห็น สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม กระบวนการจัดการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์

เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษา การอ่านการฟัง การพูดและการเขียน ด้วยการอ่านออกเสียง สนทนาแลกเปลี่ยน เขียนโต้ตอบ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบแสดงความต้องการ ขอ ตอบรับและปฏิเสธ การช่วยเหลือ นำเสนอข้อมูล ระบุ/เลือกใช้ภาษาน้ำเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพเหมาะสมกับสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษาตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินเข้าใจและเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน


ตัวชี้วัด

1.1.2/1.2/3
1.2 .2/1 .2/3.2/4
1.3.2/2 .2/3
3.1 .2/1
2.1 .2/1 
2.2 .2/1 

รวม  10 ตัวชี้วัด

คำอธิบายรายวิชา

 

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ                                         ชื่อรายวิชา  ภาษาอังกฤษ 1

จำนวน  1.5  หน่วยการเรียน                                                    รหัสวิชา  อ21101

เวลา   60  ชั่วโมง  ภาค                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1

 

          ศึกษา คำสั่ง  คำขอร้อง คำแนะนำ และคำชี้แจงง่ายๆ ข้อความ นิทาน   และบทร้อยกรอง (poem)  สั้นๆ ที่ฟังและอ่าน   สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information) ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง   กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว  กิจกรรม และสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน  ภาษาที่ใช้ในการ แสดงความต้องการ  ขอความช่วยเหลือ  ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ  การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย 

            โดยใช้กระบวนการ คิด วิเคราะห์ พูดและเขียน อภิปราย อธิบาย สรุปความ แสดงความคิดเห็น  สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม กระบวนการจัดการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์  

เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษา การอ่าน การฟัง  การพูดและการเขียน ด้วยการอ่านออกเสียง  สนทนาแลกเปลี่ยน  เขียนโต้ตอบ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเรื่องต่างๆ   ใกล้ตัว พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ แสดงความต้องการ ขอ ตอบรับและปฏิเสธ การช่วยเหลือ นำเสนอข้อมูล ระบุ/เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพเหมาะสมกับสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษาตามมารยาทสังคม  และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินเข้าใจและเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน

 

ตัวชี้วัด

ต  1.1  ม.1/1  ม.1/2  ม.1/3

ต. 1.2  ม.1/1  ม.1/3

ต. 1.3  ม. 1/ม.1/3

ต. 2.1  ม.1/1

ต. 2.2  ม. 1/

ต. 4.1  ม. 1/

รวม  10  ตัวชี้วัด


คำอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม

คำอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน  (ม.5)

ภาคเรียนที่  1   รหัสวิชา  32201

 

ศึกษา  ค้นคว้า/สืบค้น คำแนะนำ ในคู่มือการใช้งานต่างๆ  คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยาย   ข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง  บทละครสั้นๆ (Skit)  ประโยค กิจกรรม เรื่องต่างๆใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ข่าว / เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม รวมทั้งความเรียงรูปแบบต่างๆ ที่อ่าน  ทั้งที่ไม่ใช่ความเรียงในรูปแบบต่างๆ และข้อมูลต่างๆจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

          โดยใช้กระบวนการ คิด วิเคราะห์  อภิปราย อธิบาย แสดงความคิดเห็น  กระบวนการจัดการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์

          เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษา  อ่านและเขียน โต้ตอบ แสดงความคิดเห็น สรุปใจความสำคัญ/แก่นสาระที่ได้จากการอ่าน นำเสนอเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล  ข่าวสารของโรงเรียน  ชุมชน  และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศด้วยการเขียน ให้เหตุผล ยกตัวอย่างประกอบ และเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมสัมพันธ์กับระดับของบุคคล โอกาส สถานที่ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน เข้าใจและเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันและเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมในการศึกษาต่อ รวมทั้งเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

 


 

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ                         ชื่อรายวิชา  ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน 5

จำนวน  1  หน่วยกิต                                              รหัสวิชา  อ23205

เวลา   40  ชั่วโมง/ภาค                                           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3

          ศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่างๆใกล้ตัว สถานการณ์ เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่อง ภาษาที่ใช้แสดงความต้องการ เสนอ ให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ โดยการสืบค้นรวบรวมและสรุปความรู้ข้อมูลจากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ

          โดยใช้กระบวนการ คิด วิเคราะห์  อภิปราย บรรยาย แสดงความคิดเห็น  สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม กระบวนการจัดการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์  

          เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษา การอ่าน การฟัง  การพูดและการเขียน ด้วยการสนทนาและเขียนโต้ตอบ  เขียนโต้ตอบ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่างๆใกล้ตัว เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ แสดงความต้องการ ขอ ตอบรับและปฏิเสธ การช่วยเหลือ นำเสนอข้อมูล ระบุ/เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพเหมาะสมกับสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษาตามมารยาทสังคม  และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินเข้าใจและเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน

 

จำนวน 6 ผลการเรียนรู้

1. ใช้ภาษาในการพูดและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่างๆ ใกล้ตัวสถานการณ์  ข่าว  เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคม และสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

2. ใช้ภาษาเพื่อพูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเองประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็นต่างๆ ที่อยู่ในความสนใจ ของสังคม

3. ใช้ภาษาเพื่อพูดและเขียนบรรยายความรู้สึก และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ  กิจกรรม

ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม

4. ใช้ภาษา  น้ำเสียง และกิริยาท่าทาง เหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม   และวัฒนธรรม  ของเจ้าของภาษา     

5. ใช้ภาษาเพื่อพูดและเขียนแสดงความต้องการ  เสนอและให้ความช่วยเหลือตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆอย่างเหมาะสม

6. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่ง
การเรียนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ


คำอธิบายรายวิชา

 

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ                                         ชื่อรายวิชา  ภาษาอังกฤษ 1

จำนวน  1.5  หน่วยการเรียน                                                    รหัสวิชา  อ21101

เวลา   60  ชั่วโมง  ภาค                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1

 

          ศึกษา คำสั่ง  คำขอร้อง คำแนะนำ และคำชี้แจงง่ายๆ ข้อความ นิทาน   และบทร้อยกรอง (poem)  สั้นๆ ที่ฟังและอ่าน   สื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information) ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง   กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว  กิจกรรม และสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน  ภาษาที่ใช้ในการ แสดงความต้องการ  ขอความช่วยเหลือ  ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ  การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย 

            โดยใช้กระบวนการ คิด วิเคราะห์ พูดและเขียน อภิปราย อธิบาย สรุปความ แสดงความคิดเห็น  สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม กระบวนการจัดการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์  

เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษา การอ่าน การฟัง  การพูดและการเขียน ด้วยการอ่านออกเสียง  สนทนาแลกเปลี่ยน  เขียนโต้ตอบ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมหรือเรื่องต่างๆ   ใกล้ตัว พร้อมทั้งให้เหตุผลสั้นๆ ประกอบ แสดงความต้องการ ขอ ตอบรับและปฏิเสธ การช่วยเหลือ นำเสนอข้อมูล ระบุ/เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพเหมาะสมกับสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษาตามมารยาทสังคม  และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินเข้าใจและเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน

 

ตัวชี้วัด

ต  1.1  ม.1/1  ม.1/2  ม.1/3

ต. 1.2  ม.1/1  ม.1/3

ต. 1.3  ม. 1/ม.1/3

ต. 2.1  ม.1/1

ต. 2.2  ม. 1/

ต. 4.1  ม. 1/

รวม  10  ตัวชี้วัด


ภาษาจีน1 

汉语高中一级五班。


คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ                                            ชื่อรายวิชา  ภาษาอังกฤษ 5

จำนวน  1.5  หน่วยการเรียน                                                     รหัสวิชา  อ23101

เวลา   60  ชั่วโมง  ภาค                                                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3

          เข้าใจ  คำแนะนำ  คำขอร้อง คำชี้แจงและคำอธิบายที่ฟังและอ่านในการประดิษฐ์  การบอกทิศทาง  ป้ายประกาศต่างๆและการใช้อุปกรณ์  อ่านออกเสียงข้อความ  ข่าว  โฆษณา  และบทร้อยกรอง (poem)  สั้นๆถูกต้องตามหลักการอ่าน  พัฒนาทักษะการใช้พจนานุกรม  ระบุ  ตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information)  รูปแบบต่างๆให้สัมพันธ์กับประโยคและข้อความเกี่ยว  กับตนเอง  ครอบครัว  โรงเรียน  สิ่งแวดล้อม  อาหาร  เครื่องดื่ม  เวลาว่าง  และนันทนาการ  การซื้อขาย  สุขภาพและลมฟ้าอากาศ 

          สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง  เรื่องต่างๆใกล้ตัว  สถานการณ์  ข่าว  เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมได้อย่างต่อเนื่องเหมาะสมในการสื่อสารระหว่างบุคคลในชีวิตประจำวัน  ได้แก่  การทักทาย  กล่าวลา  ขอบคุณ  ขอโทษ  ชมเชย  พูดแทรกอย่างสุภาพ  พูดชักชวนได้เหมาะสมตามมารยาทสังคม  ใช้คำขอร้อง  ให้คำแนะนำ  คำชี้แจงและคำอธิบายอย่างเหมาะสม 

เหมาะสม  พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง/ประสบการณ์  ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็นต่างๆที่อยู่ในความสนใจของสังคม 

ใช้ภาษา  น้ำเสียง  และกิริยาท่าทางในการสนทนาเหมาะสมกับบุคคลและโอกาส  ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา  สามารถอธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่  และประเพณีของเจ้าของภาษา  รวมทั้งเข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ  เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่าง  ระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ  และการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาอังกฤษและภาษาไทย  ใช้ภาษาอังกฤษในการค้นคว้า  รวบรวม  และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้  และนำเสนอด้วยการพูด/การเขียน   ใช้ภาษาอังกฤษในการสืบค้น/ค้นคว้า  รวบรวมและสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆในการศึกษาต่อ  และประกอบอาชีพ  รวมทั้งเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน  ชุมชนและท้องถิ่นเป็นภาษาอังกฤษ 

เห็นคุณค่าของการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน  มีความรักชาติ  ศาสนา กษัตริย์  ซื่อสัตย์ สุจริต  มีวินัย  ใฝ่เรียนรู้  อยู่อย่างพอเพียง  มุ่งมั่นในการทํางาน  รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ รวมทั้งนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ตัวชี้วัด

ต. 1.1   ม. 3/ม. 3/

ต. 1.2   ม. 3/ม. 3/

ต. 1.3   ม. 3/

ต. 2.1   ม. 3/ม. 3/

ต. 2.2   ม. 3/1          

ต. 3.1   ม. 3/

ต. 4.2   ม. 3/ม. 3/2

รวม  11 ตัวชี้วัด



คำอธิบายรายวิชาภาษาจีน 3 (จ22201)

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  ภาคเรียนที่  1

 

ศึกษาคำสั่ง คำแนะนำ คำขอร้อง คำอธิบาย คำชี้แจง คำขออนุญาตที่ใช้ในห้องเรียนและในชีวิตประจำวัน  อ่านออกเสียงตัวอักษร คำศัพท์ กลุ่มคำ ประโยค ตามหลักการอ่านในระบบเสียงภาษาจีนกลาง การสื่อสารระหว่างบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง เพื่อน และเรื่องใกล้ตัวแบบง่ายๆ พูดหรือเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ หรือเรื่องใกล้ตัว ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน

โดยใช้ทักษะกระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ

          เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำมาใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน และเป็นเครื่องมือในในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ มีคุณภาพมุ่งสู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 

ผลการเรียนรู้

1.       ปฏิบัติตามคำสั่ง คำแนะนำ คำขอร้อง คำอธิบาย คำชี้แจง คำขออนุญาตที่ใช้ในห้องเรียนและในชีวิตประจำวัน

2.       อ่านออกเสียงตัวอักษร คำศัพท์ กลุ่มคำ ประโยค ตามหลักการอ่านในระบบเสียงภาษาจีนกลาง

3.       พูดหรือเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล

4.       พูดหรือเขียนข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง เพื่อน และเรื่องใกล้ตัวแบบง่ายๆ

5.       พูดหรือเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในชีวิตประจำวัน

6.       พูดหรือเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ หรือเรื่องใกล้ตัว     

7.       ช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน

8.       ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้ และนำเสนอด้วยการพูดหรือเขียน

 

รวมทั้งหมด  8 ผลการเรียนรู้

 


คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

33207  Intensive English 5                                        กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6  ภาคเรียนที่ 1             เวลา  40  ชั่วโมง            จำนวน  1.0  หน่วยกิตศึกษา
          คำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ  คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน  คำขอร้อง ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอ ตอบรับ ปฏิเสธ การให้ความช่วยเหลือ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง /กิจกรรม/ประสบการณ์/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์  ข้อมูลต่างๆ ข้อความ สำนวน
 คำพังเพย  สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ที่ฟังหรืออ่านตามความสนใจของสังคม

          โดยใช้กระบวนการ คิด วิเคราะห์  อภิปราย อธิบาย เปรียบเทียบ สรุปความ แสดงความคิดเห็น  สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม กระบวนการจัดการทางภาษา กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์

          เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษา การอ่าน การฟัง  การพูดและการเขียน ด้วยเลือกใช้ภาษา ในการ ปฏิบัติตาม  อธิบาย เปรียบเทียบความแตกต่าง เลือกและใช้ภาษาสื่อสารให้เหมาะกับระดับของบุคคล ในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา  ชุมชน และสังคม ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลินเข้าใจและเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำมาใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันและเป็นเครื่องมือในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  มุ่งสู่ประชาคมอาเซียน

ผลการเรียนรู้

1.        ปฏิบัติตามคำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ  คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน

2.        เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ  คำชี้แจง คำอธิบาย    อย่างถูกต้อง

3.        จับใจความสำคัญ  วิเคราะห์ความสรุปความ ตีความ  และแสดงความคิดเห็นจากการอ่านเรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี  พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบได้

4.        ใช้ภาษาในการแสดงความต้องการ  เสนอ  ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม 

5.        ใช้ภาษาในการนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง  ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่างๆ ตามความสนใจของสังคม

6.        อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน  คำพังเพย  สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศได้

7.        ใช้ภาษาเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย  อธิบาย เปรียบเทียบ  และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่อ่านอย่างเหมาะสม

8.        ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา  ชุมชน และสังคม


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

22101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  3   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1           เวลา  60  ชั่วโมง                       จำนวน  1.5  หน่วยกิต

ศึกษาและวิเคราะห์ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มประเทศอาเซียน พุทธประวัติ ชาดก พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง ศึกษาและวิเคราะห์ พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปิฎก คำศัพท์น่ารู้ทางพระพุธศาสนา พระสงฆ์ การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อพระสงฆ์ หน้าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ วันสำคัญทางพุทธศาสนา ศาสนพิธี หลักธรรม การฝึกทักษะการบริหารจิตและเจริญปัญญา

ศึกษาวิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าในเรื่อง  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท  สิทธิเสรีภาพ ในสถานพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนเพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน กระบวนการในการตรากฎหมาย ข้อมูลข่าวสารทางการเมือง การปกครอง ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเพื่อเกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ และดำเนินชีวิตในสังคมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างสันติสุข

 

รหัสตัวชี้วัด

          1.1   .2/1   .2/2   .2/3   .2/4  .2/5 .2/6  .2/7  .2/8 .2/9 .2/10 .2/11

          1.2   .2/1 .2/2 .2/3 .2/4 .2/5

          2.1   .2/1 .2/2 .2/3 .2/4

          2.2   .2/1 .2/2 

 

รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

 


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

32101  ภูมิศาสตร์                                    กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1             เวลา  40  ชั่วโมง                   จำนวน  1.0  หน่วยกิต

 

วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของพื้นที่ในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพซึ่งทำให้เกิดปัญหาหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ และนำภูมิสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการประเมินการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลกว่าเป็นผลมาจากการกระทำของมนุษย์หรือธรรมชาติ

วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ ในการสร้างสรรค์

วิถีการดำเนินชีวิตของท้องถิ่น ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกและเห็นความสำคัญของ

สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สร้างแนวทางและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

          เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ของจังหวัดสุรินทร์ ประเทศไทยและโลก  ตระหนักและเห็นคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติ  สามารถนำความรู้ทางภูมิศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

 

รหัสตัวชี้วัด

ส5.1 ม4-5/1-3

ส5.2 ม4-6/1-4

รวมทั้งหมด    7   ตัวชี้วัด



 


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

22101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  3   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1           เวลา  60  ชั่วโมง                     จำนวน  1.5  หน่วยกิต

ศึกษาและวิเคราะห์ประวัติความสำคัญของพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มประเทศอาเซียน พุทธประวัติ ชาดก พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง ศึกษาและวิเคราะห์ พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปิฎก คำศัพท์น่ารู้ทางพระพุธศาสนา พระสงฆ์ การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อพระสงฆ์ หน้าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ วันสำคัญทางพุทธศาสนา ศาสนพิธี หลักธรรม การฝึกทักษะการบริหารจิตและเจริญปัญญา

ศึกษาวิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าในเรื่อง  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท  สิทธิเสรีภาพ ในสถานพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมในภูมิภาคอาเซียนเพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน กระบวนการในการตรากฎหมาย ข้อมูลข่าวสารทางการเมือง การปกครอง ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายเพื่อเกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตได้ มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ และดำเนินชีวิตในสังคมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างสันติสุข

 

รหัสตัวชี้วัด

            1.1        .2/1   .2/2   .2/3   .2/4  .2/5 .2/6  .2/7  .2/8 .2/9 .2/10 .2/11

                1.2        .2/1 .2/2 .2/3 .2/4 .2/5

                2.1        .2/1 .2/2 .2/3 .2/4

                2.2        .2/1 .2/2 

รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด

 


         ศึกษา วิเคราะห์ ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ มนุษยชาติ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อการศึกษา ประวัติศาสตร์สากล การศึกษาอารยธรรมของโลกยุคโบราณ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมกรีก อารยธรรมโรมัน อารยธรรมลุ่มแม่น้ำเหลืองหรือแม่น้ำฮวงเหอ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ การติดต่อระหว่างโลกตะวันออก กับโลกตะวันตกที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์สากล มีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ในด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย มีความรับผิดชอบ

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

33101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1            เวลา  40  ชั่วโมง                    จำนวน  1.0  หน่วยกิต

 

วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา      วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน

วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

วิเคราะห์เหตุการณ์และปัญหาสำคัญของสังคมและสังคมโลก ที่มีผลกระทบต่อวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน วิเคราะห์สาเหตุความเป็นมาของเหตุการณ์และปัญหาสำคัญที่เกิดในสังคมไทย สังคมในกลุ่มประเทศอาเซียน และสังคมโลก โดยเสนอแนะแนวทางป้องกันและแก้ไขได้

วิเคราะห์ถึงความสำคัญของวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทย โดยการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมไทย เลือกรับวัฒนธรรมสมัยใหม่หรือวัฒนธรรมสากลได้อย่างเหมาะสมกับสังคมไทย

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในพระพุทธศาสนาและศาสนาที่ตนนับถือ สามารถนำหลักธรรมคำสั่งสอนมาประยุกต์ใช้ให้เกิดความเจริญ และความสงบสุขในสังคม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

          เพื่อให้เข้าใจในเหตุการณ์ของสังคม ที่มีผลกระทบต่อมนุษย์ ปัญหาที่เกิดในสังคมไทยและสังคมโลก การอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลได้ เข้าใจปัญหาเศรษฐกิจของประเทศและต่างประเทศ การผลิตการบริโภค การใช้เทคโนโลยีทางการผลิต สามารถนำความรู้เหตุการณ์ทางสังคม และเศรษฐกิจมาประยุกต์ในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

 

รหัสตัวชี้วัด

ส 1.1 ม4-6/1,ม4-6/2,ม4-6/6,ม4-6/9,ม4-6/10,ม4-6/11,ม4-6/13,ม4-6/17,ม4-6/21

          ส 1.2 ม4-6/4

ส 2.1  ม4-6/2,ม4-6/2, ม4-6/3, ม4-6/4

รวมทั้งหมด    14  ตัวชี้วัด

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างรายวิชา

33101  สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1   กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6           ภาคเรียนที่ 1              เวลาเรียน 40 ชั่วโมง           จำนวน 1 หน่วยกิต

ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

เวลาเรียน (ชั่วโมง)

น้ำหนัก

คะแนน

1

พระพุทธศาสนา

ม.4-6/1 วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ

- สังคมสมัยก่อนพุทธกาล

1

2

2

ม.4-6/2 วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- พระพุทธเจ้าในฐานที่ผู้ฝึกตนได้ (การตรัสรู้)

1

1

3

- หลักการเผยแพร่พระพุทธศาสนา

1

1

4

หลักการทางพระพุทธศาสนา

ม.4-6/6 วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- ความเป็นประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

1

2

5

ม.4-6/9 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- การแก้ไขปัญหาตามหลักพระพุทธศาสนา

1

2

6

หลักพระพุทธศาสนากับการพัฒนาโลก

ม.4-6/10 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- การฝึกตนตามแนวทางพระพุทธศาสนา

2

2

7

- พระพุทธศาสนากับการสร้างสรรค์โลก

1

2

8

ม.4-6/11 วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

- หลักพระพุทธศาสนากับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1

2

9

หลักธรรมและ

วันสำคัญ

ม.4-6/13 วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

- หลักธรรมอริยสัจ 4

 1. หลักธรรมที่ควรรู้ (ทุกข์)

 2. หลักธรรมที่ควรละ (สมุทัย)

 3. หลักธรรมที่ควรบรรลุ(นิโรธ)

 4. หลักธรรมที่ควรเจริญ(มรรค)

4

4

10

ม.4-6/17 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

- ประวัติศาสดา ของศาสนาคริสต์ อิสลาม และศาสนาอื่นๆ

2

2

11

ม.4-6/21 วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน

- หลักธรรมที่นำไปสู่สันติภาพและความสงบสุข

2

2

12

ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

- วันสำคัญทางศาสนาพุทธ

   1. วันมาฆบูชา

   2. วันวิสาขบูชา

   3. วันอาสาฬหบูชา

2

2

13

ทดสอบกลางภาคเรียน

1

20

14

การเมืองการปกครอง

ม.4-6/1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ จากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข

- พัฒนาการเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง

1

1

15

- การปกครองรูปแบบต่างๆ : เผด็จการ

1

1

16

- การปกครองรูปแบบต่างๆ : ประชาธิปไตย

1

1

17

- ปัญหาพื้นฐานทางการเมืองการปกครองไทย

1

1

18

ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ  และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

- บทบาทของประชาชนกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

3

4

19

- ความร่วมมือด้านการเมืองการปกครองระหว่างประเทศ

3

4

20

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

ม.4-6/3 วิเคราะห์ความสำคัญและ ความจำเป็นที่ต้องธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

- ความสำคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

1

2

21

- การธำรงรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตย

1

2

22

- รัฐธรรมนูญไทย

2

2

23

- บทบาทของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ

2

2

24

ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

- การตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลในรูปแบบต่างๆ

4

6

25

ทดสอบปลายภาคเรียน

1

30

รวมตลอดภาคเรียน

40

100

 

หมายเหตุ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด

รายวิชา  สังคมศึกษาพื้นฐาน  รหัสวิชา  33101 

 

 

 

ที่

 

ตัวชี้วัด

น้ำหนักคะแนน

มาตรฐานช่วงชั้นที่เรียน

วัดผลระหว่างภาค

วัดผลกลางภาค

วัดผลปลายภาค

ด้าน

ความรู้

(K)

ด้าน

กระบวนการ (P)

ด้าน

เจตคติ

(A)

คะแนนทดสอบย่อย

1

ม.4-6/1 วิเคราะห์สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

2

ม.4-6/2 วิเคราะห์พระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสุดในการตรัสรู้ หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

3

ม.4-6/6 วิเคราะห์ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

4

ม.4-6/9 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

5

ม.4-6/10 วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

1

2

1

4

5

2

1.1

6

ม.4-6/11 วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

0.5

1

0.5

2

3

2

1.1

7

ม.4-6/13 วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

1

2

1

4

-

2

1.1

8

ม.4-6/17 อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

0.5

1

0.5

2

-

2

1.1

9

ม.4-6/21 วิเคราะห์หลักธรรมสำคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ ชักชวน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลอื่นเห็นความสำคัญของการทำความดีต่อกัน

0.5

1

0.5

2

-

2

1.1

10

ม.4-6/4 วิเคราะห์หลักธรรม คติธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางศาสนาและเทศกาลที่สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง

0.5

1

0.5

2

-

2

1.2

11

ม.4-6/1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สำคัญในประเทศ จากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข

1

2

1

4

-

2

2.2

12

ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองที่นำไปสู่ความเข้าใจ  และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

2

4

2

8

-

3

2.2

13

ม.4-6/3 วิเคราะห์ความสำคัญและ ความจำเป็นที่ต้องธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2

4

2

8

-

3

2.2

14

ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

2

2

2

6

-

2

2.2

รวมคะแนน

13

24

13

50

20

30

100

หมายเหตุ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

 


รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒธรรม1

กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เนื้อหารายวิชา แบ่งเป็น  2 ช่วงได้แก่

ช่วงที่ 1 ศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ช่วงที่ 2 ศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง รัฐธรรมนูญและการปฏิบัติตนที่ดีในสังคม

คำอธิบายราย วิชา การอาชีพ



คำอธิบายรายวิชา

ศ๒๓๑๐๑  ทัศนศิลป์                                                                    กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๓     ภาคเรียนที่  ๑         เวลาเรียน  ๒๐  ชั่วโมง                   จำนวน   ๐.๕   หน่วยกิต

 

ระบุและบรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา  โดยใช้ความรู้เรื่อง  ทัศนธาตุ  และหลักการออกแบบ  เทคนิค  วิธีการของศิลปินและของตนเองในการสร้างงานทัศนศิลป์  ฝึกวิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ  เนื้อหา  วิธีการใช้ทัศนธาตุ  หลักการออกแบบและคุณค่าในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเอง
และผู้อื่น  มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากลอย่างน้อย  ๓  ประเภท  สามารถผสมผสานวัสดุต่างๆ  ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ  สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์  ทั้ง  ๒  มิติ  และ  ๓  มิติ  เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการให้เป็นเรื่องราว  เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่างๆ  โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย  ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์และเลือกงานทัศนศิลป์  โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้นอย่างเหมาะสมและนำไปจัดนิทรรศการ

โดยให้ผู้เรียนฝึกฝนการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ  สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์  เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ

เห็นคุณค่าเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรมทั้งไทยและสากลในแต่ละยุคสมัย

ตัวชี้วัด

ศ ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐,
ม.๓/๑๑

ศ ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒

รวมทั้งหมด  ๑๓  ตัวชี้วัด

 

 


รายวิชาดนตรี 4  รหัสวิชา 31101  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  สอนโดย นายชัชรินทร์ชัย เกาะน้ำใส

คำอธิบายรายวิชา

ศ22103 รายวิชานาฏศิลป์                                                                  กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1                                                    เวลา 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต

 

ศึกษาความรู้โดยการ อธิบายการบูรณาการศิลปะแขนงอื่นๆ กับการแสดง  สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร  วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อื่น โดยใช้นาฏศัพท์หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสม  เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดง  เชื่อมโยงความรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ  เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่างๆ ทักษะการแสดงของท้องถิ่น ระบุการแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกันในอดีต  อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาของละคร

ทั้งนี้เพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านการใฝ่เรียนรู้ การมุ่งมั่นในการทำงาน มีจิตสาธารณะ มีวินัย รักความเป็นไทยและการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

              

รหัสตัวชี้วัด

ศ 3.1     ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5

ศ 3.2    ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3

รวมทั้งหมด   8  ตัวชี้วัด


คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา                                                                            ชื่อวิชา สุขศึกษา

จำนวน 0.5 หน่วยการเรียน                                                                                                     รหัสวิชา 32101

เวลา 20 ชั่วโมง / ภาค                                                                                                            ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

 

     ศึกษาเกี่ยวกับการทำงาน  กระบวนการสร้างเสริมและดำรงประสิทธิภาพการทำงานของระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายปัสสาวะ ศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศและการดำเนินชีวิต ค่านิยมในเรื่องของเพศตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอื่นๆ แนวทางในการเลือกใช้ทักษะต่างๆ ในการป้องกัน ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว วิเคราะห์สาเหตุ ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้และการจำหน่ายสารเสพติด มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง วิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัย ความรุนแรง และเสนอแนวทางการป้องกันการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย และแสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี

     โดยใช้กระบวนการ  สืบเสาะหาความรู้  การสำรวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูลและการอภิปรายนำเสนอเพื่อให้เกิดความรู้  ความคิด    ความเข้าใจ  สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้  มีความสามารถในการตัดสินใจ

     เห็นคุณค่าของการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างมีคุณธรรม  จริยธรรม  และค่านิยมที่เหมาะสม


รายวิชาทั้งหมด